วันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

วิธีการโปรโมทเว็บไซต์

โปรโมทเว็บไซต์คืออะไร จำเป็นหรือไม่

          การโปรโมทเว็บไซต์นั้นคืออะไร  สำหรับการโปรโมทเว็บไซต์นั้นถ้าเอาตามหลักความเข้าใจของผู้รีวิวแล้วละก็มันคือการ ทำแบล็คลิ้งค์อย่างนึงให้กับเว็บซึ่งการโปรโมทนั้นจะมีมากมายหลากหลายช่องทาง ที่เห็นชัด ๆ ก็จะมีแบบเป็นการติด Banner หรือว่าจะเป็นการโปรโมทผ่านเว็บโพสเว็บฟรี หรือว่าจะเป็นการลงโฆษณาบน YouTube พวกนี้เราจะเรียกว่าการโปรโมททั้งหมด 
          การโปรโมทเว็บไซต์ช่วยอะไร จำเป็นหรือไม่? อาธิหากคุณเปิดเว็บขายรองเท้าหนึ่งเว็บ หากคุณจะมีลูกค้ามาซื้อรองเท้าในร้านคุณ มันก็ต้องผ่านการโปรโมทมาก่อนนั่นเอง เพราะไม่อย่างนั้นแล้วละก็ ลูกค้าจะมาจากไหน ใครจะมารู้จักร้านคุณเลยคงเป็นไปไม่ได้จริงไหม ดังนั้นจึงต้องมีการโปรโมทร้านค้าด้วยการทำโฆษณาต่าง ๆ ก่อนนั่นเอง การทำโฆษณานั้นมีมากมายโดยคุณสามารถหาผ่าน Google ได้ ว่าการหาแบล็คลิ้งค์นั้นทำได้โดยวิธีไหนบ้าง  นอกจากนี้แล้วละก็การโฆษณานั้นยังช่วยให้คนรู้จักเว็บของคุณได้มากขึ้นเผลอ ๆ อาจจะมีออเดอร์เข้ามานั่นเอง ดังนั้นแล้วละก็การโปรโมทเว็บนั้นเรียกว่าเป็นสิ่งที่ดีมาก ๆ ทีเดียวเลย เป็นจำเป็นมากในการโปรโมทเว็บไซต์


โปรโมทอย่างไร ใช้เครื่องมือใดบ้าง

โปรโมทโดย Google มีเครื่องมือดังต่อไปนี้
          1. Google Analytics
          2. Google Sitemaps
          3. Google Alerts
          4. Google Froogle
          5. Google Checkout


เทคนิคของ SEO ที่สำคัญมีอะไร

          1. เพิ่มประสิทธิภาพแท็ก title สำหรับเนื้อหา
          2. สร้างคำอธิบาย meta ที่กระตุ้นความสนใจ
          3. ใส่คีย์เวิร์คที่เหมาะไปทั่วทั้งเนื้อหาบนเว็บ และเนื้อหาออนไลน์
          4. สร้างการเชื่อมโยงภายในเนื้อหา
          5. ปรับปรุงเนื้อหาในเว็บไซต์ของคุณเป็นประจำ


Search engine ที่นิยมใช้โปรโมท

          1. Google
          2. bing
          3. Yahoo
          4. Ask
          5. Aol Search
          6. MyWebSearch
          7. blekko
          8. Lycos
          9. Dogpile
          10. WebCrawler

WWW.FINDGIFT.COM

ทดลองและวิจารย์ข้อดี - ข้อเสีย http://www.findgift.com


ทดลองและวิจารย์ข้อดี - ข้อเสีย 
ข้อดี
- ทำการค้าออนไลน์มีความอิสระ ไร้พรมแดน มากกว่าธุรกิจประเภทอื่นๆ
- ลูกค้าสามารถเข้าถึงข้อมูลสินค้าของเราได้ทุกที่
- มีต้นทุนในการเปิดเว็บไซต์เพื่อขายสินค้าต่ำ
- ไม่จำเป็นต้องมีหน้าร้าน หรือเช่าพื้นที่ขาย ก็สามารถขายของได้
- มีความสะดวกสบาย
- เพิ่มโอกาสทางการตลาด
- ไม่จำเป็นที่จะต้องมีพนักงานก็สามารถขายได้
- เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้อย่างชัดเจน
- ลูกค้าสามารถรอรับสินค้าที่หน้าบ้านได้เลย
- สามารถวัดผล เก็บสถิติ และวิเคราะห์การขายได้
- สามารถติดต่อสื่อสาร พูดคุย ให้ข้อมูลกับลูกค้าได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม
- การชำระเงินมีความสะดวก สบาย และทันสมัยโดยผ่านระบบออนไลน์,บัตรเครดิต
- ดูแลจัดการง่าย
- สามารถทำคนเดียวได้แบบสบายๆ
- ไม่จำเป็นต้องมีสต๊อกสินค้า
- สามารถขายสินค้าได้ทุกแบบ ทุกอย่าง ทุกชนิด (เดี๋ยวนี้มีการสั่งอาหารออนไลน์เกิดขึ้นแล้ว)
- สามารถรองรับลูกค้าได้ทั่วทุกมุมโลก (คนทุกกลุ่มวัยสามารถเข้าถึงสินค้า)
- มีการสนับสนุนจากทางภาครัฐและเอกชนกันมากขึ้น

ข้อเสีย
- หน้าเว็บไม่มีจุดจูงใจ
- เรียบง่ายเกินไป ทำให้ไม่มีความน่าสนใจ
- ให้ภาษาไม่ค่อยถูกต้อง
- รูปแบบตัวหนังสือดูไม่ค่อยน่าสนใจ
- เว็บไซต์มีเนื้อหาเยอะเกินไปดูรกตา
- ลูกค้าบางท่านยังไม่เชื่อมั่นกล้าที่จะตัดสินใจซื้อ
มีการแข่งขันสูง ใครๆ ก็สามารถทำได้เพราะมันง่าย เราทำ เขาก็ทำ

เว็บไซต์ระบบงาน E-Commerce

ระบบ Store front 

http://pages.ebay.com/storefronts/start.html



ระบบ Web Portal 

          "เว็บท่า"  คือแหล่งรวบรวมข้อมูลที่ต้องการจากเว็บไซต์ต่างๆ อาทิ ราคาหุ้น, รายการบันเทิง, ข่าว และอื่นๆ ไว้ในหน้าต่างที่แตกต่างกัน แต่สามารถดูได้ในคราวเดียว ทำให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไม่เสียเวลาเข้าเว็บไซต์หลายๆ แห่งในการใช้อินเทอร์เน็ตแต่ละครั้งคะ ตัวอย่างเช่น เว็บกระปุก


ระบบ E-procurement

           E-Procurement หรือ Electronic Procurement  คือ กระบวนการจัดซื้อ–จัดจ้างออนไลน์ ดำเนินการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นระบบที่ผสมผสานการทำงานระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย สามารถให้ข้อมูลสำคัญต่างๆ ช่วยในการตัดสินใจในการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการได้ดียิ่งขึ้น

วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557


พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2550


http://sdrv.ms/1dnVoXR


หาข้อมูลเกี่ยวกับกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในหัวข้อต่อไปนี้


pdf sec_roy_dec_be2553.pdf:                                                                                                                                                                                                    พรฎ.ว่าด้วยวิธีการแบบปลอดภัยในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2553


pdf payment_noreq_ict_royal_dec_be2549.pdf
          พรฎ.กำหนดประเภทธุรกรรมในทางแพ่งและพาณิชย์ทยกเว้นมิให้นำ กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้บังคบ พ.ศ. 2549

pdf egov_royal_dec_be2549.pdf
          พรฎ.กำหนดหลักเกณฑ์และวิธ๊การในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549

pdf security_guideline_egov_anno.pdf: 
          ประกาศ แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2553

pdf epay_royal_dec_be2551.pdf
          พรฎ.ว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551


pdf epay_rules_etc_announced_2552.pdf
          ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๒

pdf emoney_ser_kor_acc_bot_announcde_2552_no.1.pdf:
          ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สรข. ๑/๒๕๕๒ เรื่อง การให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ตามบัญชี ก ที่ไม่ต้องแจ้งให้ทราบก่อนให้บริการ

pdf epay_ctrl_rules_bot_announced_2552_no.2.pdf:
          ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สรข. ๒/๒๕๕๒ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการ การชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์


pdf epay_it_security_bot_announced_2552_no.3.pdf
          ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สรข. ๓/๒๕๕๒ เรื่อง นโยบายและมาตรการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางระบบสารสนเทศ ในการประกอบธุรกิจของผู้ให้บริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์


pdf epay_ctrl_officer_bot_announced_2552_no.4.pdf:
          ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สรข. ๔/๒๕๕๒ เรื่อง การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบคุมดแลธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๑
pdf cp_cps_announced_2552.pdf:
          ประกาศแนวทางการจัดทาแนวนโยบาย (Certificate Policy) และแนวปฏิบติ (Certification Practice Statement) ของผู้ให้บริการออกใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ (Certification Authority) พ.ศ. 2552


*********************************************************************************************************************************



กฎหมายการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์


pdf computer_related_crime_act_BE2550.pdf:
           พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
           Computer - Related Crime Act B.E. 2550 (พรบ. ฉบับแปลภาษาอังกฤษ)

           คำอธิบายเกี่ยวกับ พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550